หลักการอ่านออเสียงคำอ่านไทย
การออกเสียงตัวอักษรในภาษาจีนจะล้ายคลึงกับภาษาไทยคือ มีทั้งเสียงพยัญชนะและเสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถเทียบเสีงกับอักษรได้ดังนี้
1.เสียงพยัญชนะ
 |
5.1การเทียบเสียงพยัญชนะ |
หมายเหตุ:
- เสียงบางตัวไม่มีในภาษาไทย จึงแทนด้วยเสียงที่ใกล้เคียงกัน
- แม้พยัญชนะจีนบางตัวแทนด้วยพยัญชนะไทยตัวเดียวกัน แต่ก็มีหลักการออกเสียงที่ต่างกัน ให้สังเกตุเพิ่มเติ่มจากเนื้อหา
- การออกเสียง zh ch sh ต้องใช้ปลายลิ้นแตะเพดานแข็ง จึงแทนด้วยตัวหนา เพื่อให้แตกต่างจากเสียงพยัญชนะ z c s
2.เสียงสระ
 |
5.2การเทียบเสียงสระ |
 |
5.3การเทียบเสียงสระ |
 |
5.4การเทียบเสียงสระ |
หมายเหตุ:
- บางครั้งมีการเติม r (ร์) ไว้ท้ายพยางค์ เวลาออกเสียงต้องงอลิ้นขึ้นด้านบน
- กรณีพยางค์หลังขึ้นต้นด้วยสระ a,o,e ต้องใส่เครื่องหมายคั่นพยางค์(’)เพื่อแยกเสียงระหว่างพยางค์หน้ากับพยางค์หลัง
3.เสียงวรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์มีประโยชน์ในการแยกแยะความหมาย โดยพื้นฐานแล้วมีทั้งหมด 4 เสียง จะแทนด้วยสัญลักษณ์กำกับเสียงดังนี้
 |
5.5การเทียบเสียงวรรณยุกต์ |
หมายเหตุ:
- พยางค์ที่ไม่ได้ใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์กำกับเสียง จะออกเสียงเบาและสั้น
- เมื่อพยางค์เสียงวรรณยุกต์ที่ 3 วางติดกัน พยางค์หน้าจะผันเป็นเสียงที่ 2
- ถ้าหลัง “不” ตามด้วยพยางค์เสียงวรรณยุกต์ที่ 4 不 จะผันเป็นเสียงที่ 2
- ถ้าหลัง “一” ตามด้วยพยางค์เสียงวรรณยุกต์ที่ 4 一 จะผันเป็นเสียงที่ 2
- ถ้าหลัง “一” ตามด้วยพยางค์เสียงที่1,2,3 一 จะผันเสียงเป็นเสียงที่ 4
- ถ้า “一” แสดงถึงหมายเลข ลำดับ จะออกเสียงเป็นเสียงที่ 1
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น